Hosxp PCU Manual Archive

บันทึกวัคซีนไข้หวัดใหญ่

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่นั้น เป็นการฉีดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดกลุ่มเป้าหมายไว้ดังนี้ บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย หญิงมีครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง คือ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย มะเร็งที่กำลังให้เคมีบำบัดเบาหวาน  บุคคลที่มีอายุ 65 ปี ขึ้นไป ผู้พิการทางสมองช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมีย  ภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมถึง ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการ) ผู้ที่มีน้ำนักตั้งแต่ 100 กิโลกรัมหรือ BMI

การลงบันทึกวัคซีน MMR รณรงค์

เนื่องในปี 2558 กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุขได้มีโครงการรณรงค์วัคซีนป้องกันโรค หัด หัดเยอรมัน(MR) เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง 7 ปี ทั่วประเทศ โดยได้มีการดำเนินการตั้งแค่เดือน พฤษภาคม ถึงเดือน กันยายน 2558 ทั้งนี้ในเรื่องการลงข้อมูลก็เป็นส่วนสำคัญที่ต้องมีการลงบันทึกที่ถูกต้อง จากการศึกษาจึงขอนำเสนอวิธีการลงบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องดังต่อไปนี้ 1.เมื่อเข้าสู่ระบบงาน  Hosxp PCU เลือกระบบงานเชิงรับ เลือก One  stop  service 2.ค้นหาชื่อผู้รับบริการที่ได้รับการฉีดวัคซีน เพื่อลงข้อมูล 3.เมื่อเข้าสู่ระบบงานเชิงรับ One stop service ให้ลงบันทึกข้อมูลสำคัญตามที่ได้เน้นไว้ให้ครบถ้วน

การลงทะเบียนผู้ป่วยเบาหวาน DM

ในผู้ป่วยเบาหวาน ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แล้ว ต้องมีการนำมาขึ้นทะเบียนผู้ป่วยเบาหวานที่หน่วยบริการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานรักษาพยาบาลในคลินิกเบาหวาน มาดูวิธีการขึ้นทะเบียนที่ถูกต้องกันนะครับ 1.เข้าระบบงานเชิงรับ ตามภาพ 2.เลือกเบาหวาน – เลือกลงทะเบียนใหม่ ดังภาพ 3.ค้นหาชื่อที่ต้องการเพิ่มดังภาพ 4.เพิ่มข้อมูลให้ครบตามลำดับหมายเลย แล้วกด บันทึก 5.เลือกผลวินิจฉัยโรคเรื้อรังดังภาพ 6.เลือกรายการยาที่ใช้ประจำดังภาพ – เสร็จแล้วกดบันทึก การขึ้นทะเบียนที่ถูกต้อง จะส่งผลถึงความสะดวกต่อการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพของระบบงาน ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนนี้คงช่วยให้การดำเนินงานคลินิกเบาหวานความดันของท่านถูกต้องและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นนะครับ

การบันทึกประวัติการแพ้ยา(เพิ่มเติม)

จากบทความที่แล้วเรื่องบันทึกประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยรอบนี้จะกล่าวถึงกรณี มีการแพ้ยาเพิ่มเติมนะครับ ว่าจะมีวิธีการเพิ่มอย่างไร ถึงจะถูกหลักการ ถูกต้องตามหลักการบันทึกประวัติการแพ้ยา มาดูวิธีการบันทึกเพิ่มเติมครับ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 อธิบายเพิ่มเติม  อาการที่แพ้ : ใส่ตามลักษณะอาการที่พบ เช่น มีผื่นตามตัว ฯลฯ ความร้ายแรง : ใส่ตามลักษณะความรุนแรงของการแพ้ยาชนิดนั้นๆ ในครั้งที่พบ ผลที่เกิดขึ้นภายหลัง : ผลที่เกิดขั้นหลังมีอาการแพ้ยาดังกล่าวถึงตอนนี้ สาเหตุการเกิด : Cardiovascular disorder (ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด) Blood and lymphatic

การบันทึกประวัติการแพ้ยา

ผู้ป่วยแพ้ยาที่มารับการ หรือ อยู่ในเขตรับผิดชอบที่แพ้ยา จำเป็นต้องมีการลงทะเบียนบันทึกเป็นผู้ป่วยแพ้ยาใน Hosxp PCU เพื่อป้องกันการจ่ายยาที่แพ้ หรือแจ้งเตือนกับผู้ทำการรักษาสั่งจ่ายยา เพราะจะอันตรายถึงชีวิตหากมีการจ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้รับประทาน มาดูวิธีการลงทะเบียนบันทึกประวัติการแพ้ยาที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบOne Stop Service ขั้นตอนที่ 2 กด Space Bar 1 ครั้ง  พิมพ์ชื่อบุคคลที่ต้องการลงทะเบียนฝากครรภ์ ขั้นตอนที่ 3 คลิก ส่งตรวจ ขั้นตอนที่ 4 ลงข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย บันทึกการแพ้ยา ขั้นตอนที่ 5 กรอกข้อมูลที่พบ   บันทึกรายการ อาการที่แพ้ :

Translate »