Author Archive

การลงผลLAB ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ผลแลป(LAB)ของผู้ป่วยเบาหวานความดันที่ได้ทำการตรวจไปแล้วนั้น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลต้องมีการนำมาบันทึกข้อมูลในHosxp PCU ให้เรียบร้อย มาดูวิธีการบันทึกผลแลปที่ถูกต้องกันครับ 1.เลือกปุ่มเมนู ระบบงานเชิงรับ เลือกone stop service 2.ค้นหาชื่อ ผู้รับบริการ โดยค้นจาก ชื่อ-สกุล,HN หรือ ค้นตามที่อยู่ 3.กดปุ่ม ตกลง จะปรากฏผู้รับบริการที่ค้นหา และให้คลิก ส่งตรวจจะปรากฏดังภาพ 4.เลือกลงผล lab ตามภาพ (กรณี lab ความดันโลหิตสูง)  ให้เราลงข้อมูลในหน้านี้ให้ครบถ้วนก่อน และไปเลือกที่ Tab “ลงผล Lab”   เลือกชื่อ Lab ที่ต้องการ และกด  สั่ง

การลงทะเบียนผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน

ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดัน ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และรับการรักษา เมื่อมีการส่งตัวกลับมารับการรักษาต่อที่หน่วยบริการ (รพ.สต.)ต้องได้รับการลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหมเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการติดตามรักษาไม่ว่าจะเป็น การรับยาต่อเนื่อง การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจตา ตรวจเท้าเป็นต้น ขั้นตอนการลงทะเบียนต่อไปนี้จะช่วยให้งานคลินิกเบาหวาน มีประสิทธิภาพมากขึ้นมาดูวิธีได้ดังนี้ครับ 1.เลือกระบบงานเชิงรับ ดังภาพ   2.เลือกเบาหวาน – เลือกลงทะเบียนใหม่ ดังภาพ  *ยกตัวอย่าง กรณีผู้ป่วยเบาหวาน  แต่ผู้ป่วยความดันฯ ก็คล้ายๆกันครับ   3.ค้นหาชื่อผู้ป่วยที่ต้องการ   4.ลงรายละเอียดตามลำดับ  ให้ครบถ้วนครับ 5.เลือกผลวินิจฉัยโรคเรื้อรัง   6.เลือกรายการยาที่ใช้ประจำ ขั้นตอนการลงทะเบียนนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการลงทะเบียนเพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง และเพิ่มประสิทธิภาพของงานในหน่วยบริการ หากมีข้อส่งสัยก็แสดงความคิดเห็นได้นะครับ ติดตามความรู้และเทคนิคใหม่ๆในบทความหน้านะครับ

การบันทึกการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง

ในปีๆหนึ่งจะมีการดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน ให้กับประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป และได้มีการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรม Hosxp PCU เพื่อส่งออกข้อมูลให้กับทาง สปสช.ต่อไปมาดูวิธีการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบงานสำรวจข้อมูล  ระบบคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 2 เลือกปีงบประมาณคัดกรอง  คลิก แสดงข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 Double Click เข้าชื่อบุคคลที่ต้องการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง   ขั้นตอน 4 จะปรากฏหน้าข้อมูลการคัดกรอง  คลิก เพิ่มการคัดกรอง   ขั้นตอนที่ 5 บันทึกข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง และรอบเอวของผู้ที่คัดกรอง

การบันทึกการให้บริการวางแผนครอบครัว

งานวางแผนครอบครัวเป็นอีกหนึ่งงานในหน่วยบริการ ไม่ว่าจะเป็นการบริการให้คำปรึกษาการคุมกำเนิด การให้บริการคุมกำเนิดแบบต่าง เช่น การคุมกำเนิดด้วยถุงยาวอนามัย การฉีดยาคุมกำเนิด การรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด เป็นต้น มาดูวิธีการบันทึกให้บริการวางแผนครอบครัวที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบ One Stop Service ขั้นตอนที่ 2 กด Space Bar 1 ครั้ง  พิมพ์ชื่อบุคคลที่รับบริการวางแผนครอบครัว ขั้นตอนที่ 3 คลิก ส่งตรวจ ขั้นตอนที่ 4 ลงข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย Cheif Complain ลงรหัสการวินิจฉัย (กรณีรับบริการครั้งแรก ใช้รหัส Z300 ,

การบันทึกคัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน-ความดัน

ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังจะต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโรคแทรกซ้อนเป็นประจำทุกปี เพราะฉะนั้นการลงบันทึกข้อมูลการคัดกรองต่างๆไม่ว่าจะเป็น เท้า ตา จึงเป็นสิ่งที่เจ้าหน้าท่บันทึกข้อมูลต้องทำการลงให้เรียบร้อยมาดูวิธีการลงบันทึกที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบงานเชิงรับ  คลิก ทะเบียนคลินิกพิเศษ เบาหวาน/ความดัน   ขั้นตอนที่ 2 Double Click เข้าชื่อผู้ป่วยที่ต้องการลงคัดกรองภาวะแทรกซ้อน   ขั้นตอนที่ 3 เลือก การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน  คลิก เพิ่มการคัดกรอง   ขั้นตอนที่ 4 เลือก Visit ที่ต้องการลงคัดกรอง โดยต้องตรงกับวันคลินิกจึงจะได้ Point**  คลิก ตกลง   ขั้นตอนที่ 5

Translate »