Author Archive

การบันทึกการเยี่ยมหลังคลอด(ลูก)

การเยี่ยมหลังคลอดลูก คือ กาติดตามเยี่ยมบ้านหลังได้ออกจากโรงพยาบาล ซึ่งทั้งแม่และลูกจะได้รับการเยี่ยมบ้านแต่การลงบันทึกข้อมุลต้องแยกบันทึกข้อมูลคนละส่วนกัน ลองมาดุวิธีการบันทึกเยี่ยมบ้านในส่วนของลุกที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบงานบัญชี 3(งานโภชนาการ,สร้างเสริมภูมิคุมกัน,อนามัยแม่และเด็ก อายุ 0 – 11 เดือน 29 วัน)   ขั้นตอนที่ 2 คลิก ลงทะเบียน   ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาชื่อบุตรที่ต้องการลงเยี่ยมหลังคลอด  คลิก ตก   ขั้นตอนที่ 4 ข้อมูลเด็ก ลง น้ำหนักเด็กแรกเกิด   ขั้นตอนที่ 5 ลงข้อมูลการคลอด  

การบันทึกการเยี่ยมหลังคลอด (แม่)

การบันทึกเยี่ยมหลังคลอดเป็นการดูแลติดตามที่บ้าน หลังจาก โรงพยาบาลได้ส่งตัวกลับบ้านเพื่อไปพักฟื้นต่อ เมื่อเจ้าหน้าที่เข้าไปเยี่ยมบ้านเสร็จตามแบบการเยี่ยมบ้านหลังจากนั้นต้องมีการนำข้อมูลที่ไปเยี่ยมบ้างมาลงบันทึกเพื่อเป็นช้อมูลการติดตามที่ต้องส่งต่อกับจังหวัด สปสช.ต่อไป ลองมาดูวิธีการลงบันทึกการเยี่ยมบ้านที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 เลือก one stop service ค้นหารายชื่อที่ต้องการตรวจหลังคลอด ขั้นตอนที่ 2 คลิกเข้าสู่ระบบงานบัญชี 2 (หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 6 สัปดาห์) ขั้นตอนที่ 3  Double Click ชื่อหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องการบันทึกการเยี่ยมหลังคลอด ขั้นตอนที่ 4 ลงข้อมูลตรวจหลังคลอด คลิก บันทึกการตรวจหลังคลอด ขั้นตอนที่ 5 ลงข้อมูลการดูแลหลังคลอดในครั้งนี้ คลิก บันทึก จะมีหน้าต่างแสดงขึ้นมาให้แก้ไข visiteที่ได้บันทึกไว้ในหน้า

การบันทึกการคลอด

งาน anc หรือ งานรับฝากครภ์ ดังที่ได้กล่าวไว้ในบทความก่อนว่า จะมีทั้งการดูแลระหว่างการตั้งครรภ์ หลังตั้งครรภ์ ในส่วนนี้จะพูดถึงการบันทึกหลังการคลอดในHosxp PCU เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับสถานบริการ มาดูกันนะครับว่า หลังจากคลอดแล้วเราต้องมีการบันทึกส่วนไหนบ้าง ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบงานบัญชี 2 (หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 6 สัปดาห์) ขั้นตอนที่ 2  Double  Click  ชื่อหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องการบันทึกการคลอด ขั้นตอนที่ 3 ลงข้อมูลการคลอด ใส่ข้อมูลให้ครบถ้วน คลิก บันทึก เห็นไหมครับ ขั้นตอนไม่ได้ยุ่งยากอะไรมากมาย เพียงแต่ต้องมีการบันทึกให้ครบ เพราะส่วนนี้จะเก็บไว้เป็นข้อมูลไว้ใช้ในการวางแผนการดำเนินงานต่อไปนะครับ ติดตามการบันทึกอื่นๆเช่นเยี่ยมหลังคลอดในมารดา ทารก ในบทความหน้านะครับ

การบันทึกการฝากครรภ์ (ครั้งแรก)

งานฝากครรภ์เป็นอีกงานหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบงานของกระทรวงสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพการรับฝากครรภ์ ในส่วนระหว่างการฝากครรภ์ หลังคลอด ก็เป็นส่วนสำคัญ แต่ยิ่งกว่านั้น คือข้อมูลซึ่งจะเป็นตัวบ่งบอกถึงคุณภาพงาน ลองมาดูวิธีการลงบันทึกการฝากครรภ์ที่ถูกต้องกันนะครับ ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบOne Stop Service ขั้นตอนที่ 2 กด Space Bar 1 ครั้ง  คลิก พิมพ์ชื่อบุคคลที่ต้องการลงทะเบียนฝากครรภ์ ขั้นตอนที่ 3 คลิก ส่งตรวจ ขั้นตอนที่ 4 ลงข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย คลิก Chief Complain ลง ฝากครรภ์ครั้งแรก กรณีผู้ป่วยฝากครรภ์ครั้งแรก คลิก ลงรหัสการวินิจฉัย

การลงทะเบียนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง HT

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยเรียบร้อยแล้ว เราต้องมีการนำมาลงทะเบียนในระบบโรคเรื้อรังเพื่อเป็นข้อมูลในการให้บริการต่างๆไม่ว่าจะเป็นการรับยาต่อเนื่อง การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจตา เป็นต้น เรามาดูวิธีการเพิ่มหรือลงทะเบียนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ถูกต้องกันนะครับ 1. คลิกระบบงานเชิงรับ เลือกทะเบียนคลินิกพิเศษเบาหวาน/ความดัน 2.คลิกช่องความดันโลหิตสูงเพื่อลงทะเบียน 3.เลือกสถานะ ให้เป็น None selected ซึ่งสถานะทั้งหมด มี 10 รายการ ดังนี้ หาย ตาย ยังรักษาอยู่ ไม่ทราบ(ไม่มีข้อมูล) รอจำหน่าย/เฝ้าระวัง ขาดการรักษา ครบการรักษา โรคอยู่ในภาวะสงบ ปฏิเสธการรักษา ออกจากพื้นที่ 4.คลิก Refresh datacenter 5.คลิก Up date Datacenter 6.หากคนไข้ในทะเบียนโรคความดันโลหิตสูงมีไม่ครบ

Translate »