การบันทึกอุบัติเหตุ

เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขั้นที่ หน่วยบริการ ไม่ว่าจะเป็น รถล้ม เดินล้ม ตกบันได มีดหล่นมาบาดมือ เป็นต้น เมื่อผู้ป่วยมารักษาตัวที่หน่วยบริการต้องมีการลงบันทึกอุบัติเหตุด้วย ต่อไปนี้จะเป็นขั้นตอนการลงบันทึกอุบัติเหตุแบบต่างๆที่มีใน หน่วยบริการ มาดูวิธีการบันทึกได้ดังนีั้ครับ

การบันทึกอุบัติเหตุ

ขั้นตอนที่ 1 คลิกเข้าสู่ระบบOne Stop Service

ขั้นตอนที่ 2 กด Space Bar 1 ครั้ง พิมพ์ชื่อบุคคลที่ได้รับอุบัติเหตุ

การบันทึกอุบัติเหตุ

ขั้นตอนที่ 3 คลิก ส่งตรวจ

การบันทึกอุบัติเหตุ

ขั้นตอนที่ 4 ลงข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย  คลิกงานอื่นๆ  คลิก บันทึกข้อมูลอุบัติเหตุ

การบันทึกอุบัติเหตุ

ขั้นตอนที่ 5 บันทึกข้อมูลพื้นฐาน ลงรายละเอียดข้อมูลทุกช่องในกรอบ คลิกบันทึก

การบันทึกอุบัติเหตุ

ประเภทผู้ป่วย

Trauma = บาดเจ็บ

Non Trauma = ไม่บาดเจ็บ

BBA (Birth before arrival) = เกิดก่อนมาถึง

DBA (Death before arrival) = เสียชีวิตก่อนมาถง

ผู้ป่วยจิตเวช

Revisit in 48 hr. = ติดตามเยี่ยมซ้ำ ใน 48 ชม.

ความเร่งด่วน

Emergency =ด่วนมาก

Urgent = ด่วน

Ac.illness = เจ็บป่วยฉุกเฉิน

Non Ac. Illness = ไม่เจ็บป่วนฉุกเฉิน

ประเภทอุบัติเหตุ

การบันทึกอุบัติเหตุ

Splint

ไม่จำเป็นต้องใส่

มีการใส่ Splint/Slab ก่อนมา

ไม่มีการใส่ Splint/Slab ก่อนมา

ยานพาหนะ

การบันทึกอุบัติเหตุ

GCS : ให้คะแนนตามความสามารถของผู้ป่วย

การบันทึกอุบัติเหตุ

Pupils : การขยายของรูม่วนตา  (mm.)

Rto : ขนาดของรูม่านตา ขณะมีปฏิกิริยาต่อแสง  (mm.)

นี่คือขั้นตอนการลงบันทึกอุบัติเหตุที่ถูกต้อง ที่ทุกหน่วยบริการต้องลงเพื่อผลงานการส่งออกงของงานที่ดีและมีคุณภาพ หากไม่ลงตามขั้นตอนก็อาจส่งผลต่อการส่งออกที่ไม่สมบูรณ์ ขั้นตอนไม่ได้ยุ่งยากอะไรมากมาย หวังว่าบทความนี้คงช่วยเจ้าหน้าที่บันทึกได้เยอะพอสมควร หากมีเรื่องสงสัยสามารถสอบถามได้นะครับ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

*

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.

Translate »